การประเมินผลการเรียนร้ตามหลักสููตร
นิยาม“การประเมินผลการเรียนร้ตามหลักสููตร
การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรCurriculum(
Based Assessment; CBA) คือ การ ให้ผู้เรียน
เรียนรู้ตามกิจกรรมที่ออกแบบให้สอดคล้องกบหลักสูตรที่ใช้ัจากนั้นนําผลการ
ทดสอบไปใช้ปรับปรุงการ เรียนการสอนให้ตอบสนองความต้องการจําเป็ นของนักเรียน
ผู้สอนนําผลการประเมินตมหลักสูตรมาใช้เพื่อปรับเปลี่ยนการสอนของตนเอง
เพื่อช่วยผู้เรียนให้ พร้อมที่จะเรียนเรื่องตอไป่
หรือกรณีที่ผู้เรียนที่มีความพร้อมและต้องการกาวหน้ายิ้งขึ่้น นัก
การศึกษาใช้การประเมินตามหลักสูตรเพื่อช่วยให้อัตราการพัฒนาการ
เรียนการสอนสูงขึ้นได้ รวมถึงการปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน
ด้วยการสังเกตและบันทึกการปฏิบัติของ นักเรียน ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรสถานศึกษาํ
ข้อมูลต่าง ๆ ที่เก็บรวบรวมได้จะช่วยในการตัดสินใจ เก่ียวกบการเรียนการสอนั (Deno,
1987, p. 41). ในการประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรนั้น การตัดสินใจ
เก่ียวกบการสอนขึั้นอยูก่บข้อมูลย้อนกลับที่ได้จากการประเมินความสามารถของั ผู้เรียนที่ระบุไว้ในหลักสูตร
เป้าหมายแรกคือ แนวทางในกระบวนการตัดสินใจเก่ียวกบการเรียนั การสอน (Blankenship,
1985; Graden, Zins, & Curtis, 1988, Marston & Magnusson, 1985) ทั้งนี้เพื่อให้การเรียนการสอนตรงกับความต้องการของผู้เรียน อันเป็นการเพิ่มโอกาสที่ประสบความสําเร็จในการเรียนรู้
การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรมีจุดเด่นที่บอกถึงภาระงานใดที่ช่วยให้ผู้เรียนได้พัฒนา
ความสามารถ
ตามที่หลักสูตรกาหนดํ การเลือกภาระงาน และกระบวนการใช้คะแนนมาตรฐาน และการ
บริหาร ใช้การประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรอยางไรนั่้นก็แล้วแต่สถานการณ์
อาจใช้ข้อมูลที่ได้จากการ ประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรให้โปรไฟล์ของผู้เรียนได้ทั้งในระดับรายบุคคล
ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษา
นอกจากนี้ข้อมูลจากการประเมินตามหลักสูตรสามารถใช้เป็นกลุม่
เปรียบเทียบ (norm-referenced
manner) ที่ใช้เปรียบเทียบคะแนนของผู้เรียนรายบุคคลมาShinn,1988)( หรือ ใช้เป็นเกณฑ์เปรียบเทียบCriterion(-referenced
manner) ความสามารถของผู้เรียน อันเป็ นผลมาจาก การเรียน
การสอนที่สัมพันธ์สอดคล้องกบความต้องการของผู้เรียนัShinn( & Good, 1992).
การประเมินผลการเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษากรอบที่ใช้ในการอ้างอิงทฤษฎีและแนว
ปฏิบัติที่เป็นผลการศึกษาวิจัยของเดวิด นิโคลDavid( Nicol University of Strathclyde สรุปเป็นการประเมินผลและการให้ข้อมูลย้อนกลับที่ดี10ดังนี้
1.
ให้ความชัดเจนว่าการปฏิบัติงานที่ดีเป็นอยางไร่
(เป้าหมาย เกณฑ์การวัด เกณฑ์มาขอบเขตของสิ่งที่ผู้เรียนต้องทําในหลักสูตรมีความสัมพันธ์กบเป้าหมายของเกณฑ์และมาระหว่าง และหลังการประเมินผลแค่ไหน
2. ให้“เวลาและความพยายาม” กบการเรียนรู้สิั่งที่ท้าทาย
ขอบเขตของงานที่มอบหมายมี ส่วน กระตุ้นการเรียนรู้ทั้งในและนอกชั้นเรียน
อยางลึกซึ่้งแค่ไหน
3. ให้ข้อมูลย้อนกลับคุณภาพสูงที่จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ตรวจสอบความถูกต้อง
ได้ด้วย ตนเอง ผู้สอนให้ข้อมูลย้อนกลับหรือไม่อยางไร่
และความคิดเห็นดังกล่าวมีส่วนช่วยให้
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และปรับปรุงด้วยตนเองได้อยางไร
4. สร้างความเชื่อที่เป็
นแรงบันดาลใจและความเคารพตนเองในทางบวก ขอบเขตของการ
ประเมินและการให้ข้อมูลย้อนกลับสามารถสร้างแรงจูงใจในการเรียนและความสําเร็จแก่ผู้เรียน
ได้แค่ไหน
5. สนับสนุนให้มีการปฏิสัมพันธ์และการพูดคุยในเรื่องการเรียนการสอน
(เพื่อน และครู นักเรียน)
มีโอกาสใดบ้างสําหรับการพูดคุยแลกเปลี่ยนเรื่องงานที่มอบหมายเพื่อการประเมินผล
ในรายวิชาที่ สอน
6. อํานวยความสะดวกในการพัฒนาการประเมินตนเองและการสะท้อนความคิดทางด้าน
การ
เรียน ขอบเขตของโอกาสอยางเป็นทางการสําหรับการให้ข้อมูลย้อนกลับ่ การประเมิน ตนเอง
การประเมิน โดยเพื่อนในวิชาที่เรียนมีแค่ไหน
7. ให้โอกาสผู้เรียนเลือกการประเมินผล- หาและกระบวนการ
ขอบเขตของผู้เรียน
สําหรับ
การเลือก หัวข้อ ิธีการ เกณฑ์การวัดผล ค่านํ้าหนักคะแนน กาหนดเวลาํ และงานที่
มอบหมายเพื่อการ ประเมินผล (งานที่ใช้ประเมินผลการประเมินผลงานในรายวิชาที่สอน
มีมาก น้อยเพียงใด)
8. ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเก่ียวกบนโยบายการประเมินผลและการปฏิบัติขอบเขต
ของข้อมูลที่ผู้เรียนได้รับหรือมีการส่วนร่วมให้คําปรึกษาเพื่อการตัดสินใจเรื่องการ
ประเมินผลมีหรือไม่อยางไร
9. สนับสนุนการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ขอบเขตของการประเมินผลและการให้
ข้อมูล ย้อนกลับช่วยสนับสนุนการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้มีมากน้อยเพียงใด
10.
ช่วยครผู้สอนในการปรับการเรียนการสอนเพื่อตอบสนองความต้องการของนักเรียน
1.
การประเมินผลต้องยึดตามจุดประสงค์การสอนที่ชัดเจน
2.
ขั้นตอนและเทคนิคในการประเมินผลควรเลือกตามจุดประสงค์ในการประเมิน
3.
การประเมินผลควรเป็นที่เข้าใจได้ตรงกนั
4.
การประเมินผลควรทําอยางต่อเนื่อง่
5.
การประเมินผลควระบุจุดออนจุดแข็งและใช้งานได้่
6.
การประเมินผลควรเป็นความพยายามร่วมกนั
7.
การประเมินผลควรจะมีความละเอียดรอบคอบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น