การประเมินการเรียนรู้จะต้องให้ข้อมูลย้อนกลับว่าการจัดการเรียนรู้บรรลุพันธกิจหรือไม่มีความ
จําเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนอะไรบ้าง เพื่อการบรรลุเป้าหมายของโปรแกรมการศึกษา
การประเมินเพื่อพัฒนา ประสิทธิผลในการจัดการเรียนรู้เขียนเป็นแผนภาพได้ดังนี้
ภาพประกอบที่8 วัฏจักรการประเมินเพื่อพัฒนาประสิทธิผลในการจัดการเรียนรู้
Ghave, T (1995) เสนอแนวคิดการปรับปรุงคุณภาพการศึกษาในโรงเรียน
จะต้องพิจารณา คําถาม 5 ข้อ คือ
1.
คําถามเก่ียวกบเวลา
การปรับปรุงควรจะเกิดขึ้นเมื่อไร
2. คําถามเก่ียวกบขนาดของงานั
ขอบเขตของการปรับปรุงควรมีขนาดเท่าไร
เพียงใด
ผู้เก่ียวข้องมีก่ีคน
จะต้องใช้ทรัพยากรอะไรบ้าง ผลของการปรับปรุงที่คาดการณ์ไว้มีลักษณะอยางไร่
มีความสําคัญเพียงใด และให้ผลอะไร
ในด้านการศึกษา
3.
คําถามเก่ียวกบความไมั่แน่นอน
จะแน่ใจได้อยางไรว่่าสิ่งที่เกิดขึ้นใหม่ไม่ว่าจะเป็นสภาพแวดล้อม
การปฏิบัติแรงจูงใจ หรือ
ทิศทางใหม่เป็นการปรับปรุงจริงๆ
จะตรวจสอบจากหลักฐานใดว่ามีการปรับปรุงเกิดขึ้นแล้ว
มีความเข้าใจในความเก่ียวโยงกนระหวั่างสิ่งที่รู้สึกว่าพัฒนาแล้วก่บการพัฒนาที่ัชัดเจน เมื่อองในแง่ของคุณภาพการศึกษาในโรงเรียน
การพัฒนาที่เกิดขึ้นนั้นเป็นจริง
หรือเป็นเพียงจินตนาการ
4.
คําถามเก่ียวกบการเมืองในโรงเรียนั
การเมืองในโรงเรียนมีความสําคัญต่อความพยายามในการปรับปรุงเนื่องจากการ
ปรับปรุงมีแนวคิดพื้นฐานมาจากค่านิยมและเป็นกระบวนการที่มีระบบ บุคคลในองค์กรจะมี
ความคิดเห็นที่แตกต่างกนั และต้องการที่จะปฏิบัติตามแนวคิดของตน
การเข้าใจการเมืองที่อยู่ เบื้องหลังความพยายามในการปรับปรุง
เท่ากบยอมรับวั่าในโรงเรียนยอมมีการช่่วงชิงกนั
ระหว่างกลุ่มผลประโยชน์การทบทวนจะทําให้เกิดคําถาม เชิงการเมือง เพราะการปรับปรุง เก่ียวกบั
“ผลประโยชน์” “อํานาจ” และการแกปัญหาเรื่อง้ ความขัดแย้ง เมื่อมีการปรับปรุง
คําถามคือ ใครจะได้ผลประโยชน์อะไร ที่ไหน อยางไร่ เมื่อไร และเพราะเหตุใด
5. คําถามเก่ียวกบการลงลึกในการปฏิบัติการั ถ้าการปรับปรุงมีจุดอ่อนและมีแรงกดดันจากภายนอก
การปรับปรุงกจะมีลักษณะ
ฉาบฉวย
จนทําให้ละเลยสิ่งที่เป็นรากฐานที่ควรให้ความสนใจ
สิ่งสําคัญจะต้องทําความเข้าใจว่า การปรับปรุงโรงเรียน
และการปฏิรูปในโรงเรียนแตกต่างกนั โดยที่การปฏิรูปมีผลลึกซึ้งและ
เป็นการปรับปรุงคุณภาพการศึกษาที่มีผลกระทบตอทุกคนในองค์กร่ การเปลี่ยนแปลงอยาง่
ลึกซึ้งนี้มักจะเกิดจากการรปรับปรุงโครงสร้างและอิทธิพลทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
การเน้นที่การพัฒนาภายในมากเกินไปจะไม่นําไปสู่การปฏิรูปโรงเรียน
การปรับปรุงในวงที่กว้าง ออกไปจึงเป็ นปัจจัยสําคัญในการปฏิรูป
การประเมินที่ประสบความสําเร็จจะต้องมีความชัด ของจดมุ่งหมายุ จุดมุ่งหมายในการเรียนรู้เป็นข้อความเก่ียวกบการศึกษาที่แสดงถึงความมุั่งมัน่
เจตนาะ
เกิดขึ้น
เช่น ความสามารถในการแกปัญหา้ ทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณ่ ทักษะด้านการ
สร้างสรรค์ นวัตกรรม เป็ นต้น
วัตถุประสงค์การเรียนรู้ เป็
นข้อความที่มีความเฉพ ะใหร ยละเอียดที่ได้มาจากจุดมุ่งหมาย ใช้เขียน
บรรยายพฤติกรรมหรือกิจกรรมที่ผู้เรียนจะต้องกระทํา เช่น ผู้เรียนจะต้องมี
ความสามารถในการรวบรวม จัดการ และวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อนําไปใช้ในการตัดสินใจ
ผู้เรียน สามารถวิเคราะห์เชื่อมโยงข้อมูล
ผลการเรียนรู้
เป็ นชุดรายละเอียดที่ผู้เรียนสามารปฏิบัติได้หลังจากได้เรียนในรายวิชา หรือ หน่วย
การเรียนในหลักสูตรรายวิชา
ผลการเรียนรู้จะต้องเป็นเรื่องเก่ียวกบความสําเร็จขัั้นตํ่าของ ผู้เรียนที่แสดง
ออกเป็ นรูปธรรมได้
ความสัมพันธ์ของจุดมุ่งหมาย
วัตถุประสงค์และผลการเรียนรู้เขียนในรูปวฏจักรการ ประเมินการ
เรียนรู้สรุปได้ดังภาพประกอบ ต่อไปนี้
ภาพประกอบที่9 วัฏจักรการประเมินการเรียนรู้
รูปแบบการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามแนวคิด
Outcome Driven Model การตรวจสอบความเข้าใจ
และการสรุปความรู้ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายของการจัดการ
เรียนรู้ ใช้
แนวทางการประเมินการเรียนรู้ตามแนวคิดOutcome Driven Model
ภาพประกอบที่10 แนวทางการประเมินการเรียนร้ตามแนวคิดู
Outcome Driven Model
ที่มา ปรับจากChatterji,
Madhabi. (2003) Designing and using tools for educational assessment.
Pearson Education, Inc. p.30
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น