วันจันทร์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2562

การประกันคุณภาพการศึกษา

การประกันคุณภาพการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 มาตรา 48 “ให้หน่วยงานต้นสังกดั และ สถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกนคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาและให้ถือวั่าการ ประกนคุณภาพภายในั เป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ดําเนินการอยาง่ ต่อเนื่อง”
การประกนคุณภาพการศึกษาเป็นเครื่องมือสําคัญในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้ได้ั มาตรฐาน ทั้งในระดับอุดมศึกษา และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งแนวคิดที่เก่ียวข้องมี ดังต่อไปนี้
            1. การประกันคุณภาพเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (ASEAN Cooperation Initiative in Quality Assurance)
การประกนคุณภาพการศึกษาเป็นเครื่องมือที่สําคัญในการสร้างมาตรฐานและเสริมสร้าง
คุณภาพการศึกษาของหลักสูตร โดยเฉพาะอยางยิ่งระบบการประก่นคุณภาพการศึกษาระดับในั
อาเซียน AUN( Quality Assurance - AUN-QA) ที่ตระหนักถึงความสําคัญของประกนคุณภาพั การศึกษาใน ระดับอุดมศึกษาและความจําเป็นในการพัฒนาระบบประกนคุณภาพแบบองค์รวมั เพื่อยกระดับมาตรฐาน การศึษ ให้แก่มหาวิทยาลัยในเครือข่าย AUN เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ASEAN( University Network - AUN) ซึ่งระบบประกนคุณภาพการศึกษาในอาเซียนั (AUN Quality Assurance AUN-QA) เป็นกลไกการ ประกนคุณภาพการศึกษาและสร้างมาตรฐานการอุดมศึกษาของมหาวิทยาลัยสมาชิกให้เป็ปในทิศทางเดียวกนไนั การรับรอง มาตรฐานระดับหลักสูตรจะเริ่มต้นจากความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และนํามา 1ในผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดว่าจะได้รับ ซึ่งเป็นตัวขับเคลื่อนหลักสูตรการรับรองมาตรฐาน คุณภาพ ระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์ASEAN University Network Quality Assurance: AUN-QA โดยมีเกณฑ์พิจารณา11 หมวด ได้แก่

1.  ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังไว้ 
2.  ข้อกาหนดหลักสูตรํ 
3.  โครงสร้างหลักสูตรและเนื้อหา
4.  แนวทางการสอนและการเรียนรู้ 
5.  การประเมินผลนักศึกษา
6.  คุณภาพบุคลากรสายวิชาการ
7.  คุณภาพบุคลากรสายสนับสนุน

8.  คุณภาพของนักศึกษาและการสนับสนุน

9.  สิ่งอํานวยความสะดวกและโครงสร้างพื้นฐาน
10.   การเพิ่มคุณภาพ
11.   ผลผลิต
มหาวิทยาลัยในเครือข่าย AUN ได้มีการนําเกณฑ์ดังกล่าวมาใช้ในการประกนคุณภาพั
การศึกษา ระดับหลักสูตรAUN(-QA Assessment) โดยหลักสูตรที่มีความพร้อม มหาวิทยาลัยจะ

ยื่นขอรับรองโดยAUN-QA ต่อไป


ภาพประกอบที่12 ความสัมพันธ์องค์ประกอบที่เก่ียวข้องกบั Learning outcome ที่มาhttp://academic.swu.ac.thPortals/43/105.pdf

2.   การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

สํานักทดสอบทางการศึกษา กรมวิชาการกระทรวงศึกษาธิการ2545)( ได้ศึกษาและ พัฒนา ระบบการประกนคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาั ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน จาก ผลการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศเป็นกฎกระทรวง กาหนดํ ระบบ หลักเกณฑ์และ วิธีการประกนคุณภาพั การศึกษาภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และเอกสารการ ดําเนินงานตามระบบดังกล่าว ได้แก่

1.   ระบบการประกนคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาั :

2.   แนวทางการจัดทําระบบสารสนเทศสถานศึกษา
3.   แนวทางการบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา
4.   แนวทางการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

5.   แนวทางการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพภายในของสถานศึกษา
6.   แนวทางการรายงานคุณภาพการศึกษาประจําปี ของสถานศึกษา

7.   แนวทางการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยเขตพื้นที่

การศึกษา ระบบการประกนคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาั : กรอบและแนวการดําเนินงาน

เขียนแสดง ความสัมพันธ์ได้ดังภาพประกอบที่13


ภาพประกอบที่13 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มา (กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ2545 : 3)

3.   การประเมินคุณภาพภายนอก
การประเมินคุณภาพภายนอก คือ การประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม การ ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ซึ่ งกระทําโดยสํานักงานรับรอง มาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) (สมศ.) หรือผู้ประเมินภายนอกที่ ได้รับการรับรองจาก โดยผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจาก สมศ. เพื่อมุ่งให้มีการพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึษาให้ดียิงขึ่้น
ความสําคัญของการประเมินคุณภาพภายนอก

การประเมินคุณภาพภายนอก มีความสําคัญและมีความหมายต่อสถานศึกษา หน่วยงานที่ เก่ียวข้องและสาธารณชน ดังต่อไปนี้สํานักงานรับรองมาตรฐานและ ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การ มหาชน), 2550)

1.   เป็นการส่งเสริมให้สถานศึกษาพัฒนาเข้าสู่เกณฑ์มาตรฐาน และพัฒนาตนเอง ให้เต็ม ตามศักยภาพอยางต่่อเนื่อง

2.   เพิ่มความมันใจ่ และคุ้มครองประโยชน์ให้ผู้รับบริการทางการศึกษาให้มันใจได้ว่่า สถานศึกษาจัดการศึกษามุ่งสู่คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่เน้นให้ผู้เรียนเป็น คนดีมี ความสามารถ และ มีความสุขเพื่อเป็ นสมาชิกที่ดีของสังคม
3.   สถานศึกษาและหน่วยงานที่กากํบดูแลั เช่น คณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้น สังกดั สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งหน่วยงานที่เก่ียวข้อง และ ชุมชนท้องถิ่นมีข้อมูลที่ จะช่วย ตัดสินใจในการวางแผน และดําเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้ เป็นไปในทิศทางที่ต้องการและบรรลุเป้าหมาย ตามที่กาหนดํ

4.   หน่วยงานที่เก่ียวข้องในระดับนโยบายมีข้อมูลสําคัญในภาพรวมเก่ียวกบั คุณภาพและ มาตรฐานของสถานศึกษาทุกระดับทุกสังกดเพื่อใช้เป็นแนวทางในการกัาหนดนโยบายทางการํ ศึกษาและ การจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ่

สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) http://www.onesqa.or.th/th/index.php กาหนดหลักการสําคัญของการประเมินคุณภาพภายนอกํ ซึ่ งมีหลักการ สําคัญ5ประการ ดังต่อไปนี้

1) เป็นการประเมินเพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ไม่ได้มุ่งเน้นเรื่องการ ตัดสิน การจับผิด หรือการให้คุณ ให้โทษ

2) ยึดหลักความเที่ยงตรง เป็นธรรม โปร่งใส มีหลักฐานข้อมูลตามสภาพความเป็นจริง (evidence-based) และมีความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้(accountability)
3)  มุ่งเน้นในเรื่องการส่งเสริมและประสานงานในลักษณะกลยาณมิตรมากกวั่าการควบคุม

4)   ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการประเมินคุณภาพและการพัฒนาการจัดการศึกษาจาก ทุก ฝ่ายที่เก่ียวข้อง

5)   มุ่งสร้างความสมดุลระหว่างเสรีภาพทางการศึกษากบจุดมุั่งหมายและหลักการศึกษา ของชาติตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแหํ่งชาติพ.ศ.2542 ให้เอกภาพเชิงนโยบาย แต่ยังคงมีความหลากหลายในทางปฏิบัติโดยสถาบันสามารถกาหนดเป้าหมายเฉพาะํ และ พัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ เต็มตามศักยภาพของสถาบันและผู้เรียน

วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายนอก มีวัตถุประสงค์ดังตอไปนี่้(สํานักงานรับรอง มาตรฐานและ

ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน),2550)

1.   เพื่อตรวจสอบ ยืนยันสภาพจริงในการดําเนินงานของสถานศึกษา และ ประเมิน คุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาที่กาหนดํ

2.   เพื่อให้ได้ข้อมูลซึ่งจะชวยสะท้อนให้เห็นจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาของ สถานศึกษา สาเหตุของปัญหาและเงื่อนไขของความสําเร็จ

3.   เพื่อช่วยเสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาแก่สถานศึกษา และ หน่วยงานต้นสังกัด

4.  เพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษามีการพัฒนาคุณภาพ และประกนคุณภาพภายในั อยาง่
ต่อเนื่อง

5.   เพื่อรายงานผลการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ต่อ หน่วยงานเก่ียวข้องและสาธารณชน

ผู้ประเมินภายนอกู หมายถึงบุคคลหรือหน่วยงานที่มีคุณสมบัติตามที่กาหนดและได้รับํ การ รับรอง จากสมศ. ให้ทําการประเมินคุณภาพภายนอก

มาตรฐานการศึกษาคือข้อกาหนดเกํ่ียวกบคุณลักษณะคุณภาพที่พึงประสงค์และเป็นั เป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่ง เพื่อใช้เป็นหลักในการเทียบเคียงสําหรับ การส่งเสริม กากํบดูแลั ตรวจสอบประเมินผล และ การประกนคุณภาพการศึกษาั

4.   การประเมินคุณภาพภายใน

Clark (2005 : 2) กล่าวว่า การประเมินคุณภาพภายในโปรแกรมการเรียนการสอนinternal( evaluation) เป็นวิธีการประเมินที่นําไปใช้ในการตัดสินคุณค่าของโปรแกรมการเรียนการสอนในระหว่างดําเนินการ 
การประเมินเน้นที่กระบวนการ (process) การประเมินคุณภาพภายในมี จุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบแกไขและ้ ปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน เพื่อให้เกิดประสิทธิผลยิงขึ่้น เมื่อนําไปใช้กบผู้เรียนั โดยทัวไป่ ในการประเมิน จะเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้ที่เก่ียวข้องทุกคน โดยกาหนดจุดมุํ่งหมายคือ การจัดการเรียนรู้นั้นหรือการเรียน การสอนนั้นประสบผลสําเร็จ ตามที่ตั้งใจไว้หรือไม่ข้อมูลต้องถูกเก็บรวบรวมอยางต่่อเนื่อง เพื่อตรวจสอบว่า การจัดการ เรียนรู้หรือการเรียนการสอนนั้นพัฒนาผู้เรียนได้จริง ถ้าพบว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มีปัญหาในการ เรียน การสอนคล้ายๆ กนั อาจสรุปได้ว่าการจัดการเรียนรู้หรือเรียนการสอนนั้นมีบางอยางที่ไม่่ เป็นไปตาม จุดมุ่งหมาย ดังนั้นการประเมินคุณภาพภายในเป็ นการประเมินเพื่อปรับปรุง ดําเนินการได้ทันท่วงทีการประเมินนี้จึงมีบทบาทสําคัญต่อความสําเร็จของการจัดการเรียนการ
สอน เคมพ์ Kemp( : 1971) เสนอแนะการ ประเมินไว้ดังนี้

1.   ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในระดับที่เป็นที่ยอมรับตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้หรือไม่ผู้เรียนมี ข้อบกพร่องใดบ้าง

2.   ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้ความรู้หรือทักษะในระดับที่เป็นที่ยอมรับหรือไม่ ผู้เรียนมีข้อบกพร่องใดบ้าง

3.   ผู้เรียนใช้เวลานานเพียงใด เพื่อให้เกิดประสบการณ์การเรียนรู้และเป็นที่ยอมรับของ ผู้สอน หรือไม่
4.  กิจกรรมต่าง ๆ เหมาะสมสําหรับผู้เรียนและผู้สอนหรือไม่

5.  วัสดุต่าง ๆ สะดวกและง่ายต่อการติดตั้ง การหยิบ การใช้หรือการเกบรักษาหรือไม็่

6.   ผู้เรียนมีปฏิกิริยาต่อวิธีการเรียนการสอน กิจกรรม วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้และวิธีการ ประเมินผล อยางไรบ้าง่

7.   ข้อสอบเพื่อการประเมินตนเอง และข้อสอบหลังจากเรียนแล้ว ใช้วัดจุดมุ่งหมายของ การเรียน ได้หรือไม่

8.  ควรมีการปรับปรุงแกไขโปรแกรมในส้่วนใดบ้าง (เนื้อหา รูปแบบ และอื่นๆ)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น