การทบทวนตนเองหลังการสอนที่มีคุณภาพ
การทบทวนตนเองหลังการสอนเป็นกระบวนการที่เหมาะกบการปฏิบัติงานในอาชีพั
เพราะเป็น กระบวนการที่ควรปฏิบัติเป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์กระบวนการนี้มิใช่จะจําเป็นเฉพาะกบการสอนที่ดีัเท่านั้น
แต่ยังเป็นความจําเป็นพื้นฐานสําหรับมนุษย์ด้วย บอเม สเตอร์(Baumeister, 1991) กล่าวว่า
ชีวิตมีความหมายเมื่อเราสนองความต้องการ 4 ประการ เหล่านี้ได้แก่1) ด้านวัตถุประสงค์2)ด้านค่านิยม
3) ด้าน ประสิทธิผล และ4) ด้านความพึง พอใจในตนเอง
การทบทวนตนเองหลังการสอนช่วยให้เราเข้าใจการเรียนการสอน
คําว่า“การทําความ เข้าใจ” Weick, (1995) กล่าวว่า การทําความเข้าใจเป็นความคิดและกระบวนการที่ซับซ้อน
“ความเข้าใจ” ยังหมายถึง
การเพิ่มความระมัดระวังในการมีปฏิสัมพันธ์ในกลุ่มและใน สภาวะ แวดล้อมที่เราสอน
ชั้นเรียนของเราเป็นสภาวะแวดล้อมของการเรียนการสอนที่พิเศษ เพราะเราสร้างสภาวะ
แวดล้อมขึ้นมาและเราก็สามารถแกไขเปลี่ยนแปลงได้้แต่อยางไรก่็ตาม
สภาวะแวดล้อมที่มีผลกบวิธีการสอนั ของเราด้วย เชน่
ในห้องเรียนขนาดเล็กและแออัดกิจกรรม ที่ทําได้ก็จะเป็นเพียงประเภทที่ไม่ต้องใช้โต๊ะ
“ความเข้าใจ” มิได้เป็นเพียงกระบวนการสนทนากบตัวเองเกั่ียวกบเรื่องการสอนเทั่านั้นแต่
เก่ียวข้อง กบการได้ความรู้จากการสนทนากับเพื่อนครูด้วยกันั
และเปลี่ยนประสบการณ์กนและั กนั กระบวนการนี้เป็น
กระบวนการต่อเนื่องที่ต้องการความเป็นคนช่างสังเกต ต้องสังเกตความ
เป็นไปในอาชีพถ้าเห็นว่ามีอะไร เกิดขึ้น ต้องหาเหตุผลมาอธิบายเรื่องที่เกิดขึ้นได้เช่น
ต้อง สังเกตเห็นว่าเด็กคนไหนพูดคุยกนอยูัตลอดเวลา่
เด็กคนไหนจับดินสอไม่ถูกวิธีคนไหนรักการ อ่าน คนไหนเก่งทดลองวิทยาศาสตร์และคนไหนใช้เครื่อง
บันทึกเทปได้เก่ง
ภาพประกอบที่7 การทําความเข้าใจ
การทบทวนตนเองหลังการสอน ผลลัพธ์ที่มีคุณค่า ปรับจากAnthony Ghave and Kay Ghaye (1998)
Teaching and learning through critical
reflective
practice อุสุมา ชื่นชมพู ผู้แปล2546: 22)
รูปแบบการสะท้อนความคิดนี้มีลักษณะเด่น
4 ประการ คือ เป็นวงจรมีความยืดหยุน่ มี
ประเด็นที่ เน้น
และมีลักษณะเป็ นองค์รวม
1.
มีลักษณะเป็นวงจรการทบทวนตนเองและการปฏิบัติเป็นกระบวนการที่ดําเนินต่อเนื่องกนั
เป็นวงจรเมื่อกระบวนการเริ่มแล้วจะไม่มีการถอยหลังกลับไปสู่จุดเริ่มต้น พูดให้
ชัดเจนยิงขึ่้นก็คือ การทบทวนตนเองหลังการสอน
จะนําเราไปสู่วงจรใหม่ที่ปรับปรุงแล้วต่อไป
2.
มีความยืดหย่นุ รูปแบบที่จะนําใช้จําเป็นจะต้องมีความยืดหยุน่
จะต้องไม่เป็นแบบที่มี ลักษณะ
เป็นขั้นตอน เหตุผลที่เป็นเช่นนี้มีอยู่2 ประการ คือ
ประการแรก การทบทวนตนเองหลังการสอนมีจุดเริ่มต้นที่แตกต่างกนั
เช่น
ครูคนหนึ่งอาจจะเริ่มต้นเมื่อเกิดความรู้สึกคับข้องใจที่ไม่สามารถใช้วิธีการที่ตนเอง
ต้องการเพื่อยกระดับคุณภาพการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนได้เนื่องจากเพื่อน
แตกต่างกนั ออกไป พวกเขาไม่เข้าใจว่าวิธีการนี้จะใช้ให้สัมฤทธิ์ผลได้อยางไร่
และนักเรียนทําร่วมกน)และคิดวั่าเหตุใดจึงไม่ได้ผลคู่อีกคนหนึ่งอาจเริ่มจากสิ่งที่เชื่อว่า
จําเป็นต้องใช้ (เขาต้องการเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์เพิ่มเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน)
แต่ดูเหมือนว่าจะไม่สามารถหามาได้
ครูอีกคนหนึ่งที่สอนอยูในโรงเรียนเล็กๆ่
ในชนบทอาจต้องการสร้างความสัมพันธ์กบั คนอื่นๆ ในละแวกเดียวกนั
ตลอดจนกบธุรกัิจต่างๆ หรือบริษัทห้างร้านในท้องถิ่นเพิ่มขึ้น
จุดเริ่มต้นที่แตกต่างกนมาจากคั่านิยมของครูและวิธีการทํางานของครูในการที่จะผลักดันสิ่ง
ต่างๆ ให้เกิดขึ้น และ จะมปรงสิ่งต่างๆ ให้ดีขึ้น
หรือค่านิยมเก่ียวกบโรงเรียนในชุมชนที่กว้างขึั้น
ประการที่สอง
รูปแบบการทบทวนตนเองต้องมีความยืดหยุนเพื่อให้สอดคล้องก่บวิธีการ
การปรับปรุงการเรียนการสอนไม่จําเป็นต้องดําเนินไปในรูปแบบที่คงที่และมีขั้นตอนเป็น
ลําดับ เช่น
ครูคนหนึ่งอาจเลือกที่จะทบทวนวิธีการสอนของเขาก่อน
สิ่งหนึ่งที่เขาอาจจะเรียนรู้จาก การทบทวนตนเองก็คือ
เขาเปิดโอกาสให้เด็กได้คิดเองทําเองน้อยเกินไป เขามักจะคอยชี้แนะ ควบคุม และ
สอนหรือบอกเด็กตรงๆ เมื่อรู้เช่นนี้เขาอาจลองทบทวนคานิยมหรือความเชื่อของ ตนเอง
(หากต้องการ เปลี่ยนแปลงวิธีสอน) แล้วหลังจากนั้นอาจจะทบทวนต่อไปว่าจะปรับปรุง
การสอนและการเรียนรู้ของเด็กอยางไร่
ครูคนอื่นอาจจะเริ่มที่การทบทวนถึงสภาวะแวดล้อมซึ่งก็คือโรงเรียนที่เขาสอน
โรงเรียน อาจจะตั้งอยูในย่านยากจนชานเมือง่
ความสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้ปกครองอาจจะไม่ค่อยมีใน
กรณีเช่นนี้ควรจะต้องมีการพัฒนาความสัมพันธ์กบชุมชนั
และโรงเรียนจะต้องเพิ่มบทบาทของ ตนเอง ต้องหาเงิน เพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาบุคลากร
เป็นต้น จากการทบทวนสภาวะแวดล้อมอาจจะ ตามมาด้วยการพิจารณาว่าสภาวะ แวดล้อมมีผลกระทบต่อการสอน
ได้อยางไรบ้าง่ ซึ่งอาจจะ ย้อนไปสู่เรื่องค่านิยมของครูและโรงเรียนใน ภาพรวม
ดังนั้นค่านิยม การปฏิบัติการปรับปรุง และสภาวะแวดล้อม
จึงเป็นสิ่งสําคัญที่จะต้องทบทวน ส่วน ลําดับขั้นตอนในการคิดนั้นแตกต่าง
กนออกไปในแตั่ละบุคคล
3. มีประเด็นที่เน้นกามีความยืดหยุน่
มิได้หมายความว่าจะคิดวกวนอยูก่บปัญหาเกั่ียวกบั การสอนหรือวิตกกงวลในเรื่องดังกลั่าวโดยหวังว่าครูจะพบทางออกเอง
การคิดจะต้องมีประเด็น ที่เน้นและมีทิศทางเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมาย
ในการนี้ควรใช้รูปที่1.1 เป็ นแผนที่เพื่อช่วยชี้ทิศทางและจํากดความสนใจั
รูปแบบดังกล่าวจะช่วยให้เห็นทิศทางโดยรอบ และเห็น หนทางต่างๆ
ที่อยูเบื่้องหน้าช่วยให้เข้าใจ จุดสําคัญทางการศึกษาที่จําเป็นจะต้องสํารวจ
รูปแบบ นี้มีส่วนที่ควรจะพิจารณา 4 จุด คือ ค่านิยม
การปฏิบัติการปรับปรุงและสภาวะแวดล้อม โดยครู จะเลือกพิจารณาุดใดก็ได้ขึ้นอยูก่บความสนใจั
แผนการพัฒนาอาชีพของตนเอง และปัญหา ต่าง ๆ
4.
มีลักษณะเป็ นองค์รวมจากรูปนี้เราจะมองเห็นการเรียนการสอนภาพรวม
เห็นการ เชื่อมโยง
ค่านิยมในวิชาชีพเข้ากบการปฏิบัติัการเชื่อมโยงการสอนเข้ากบความตัั้งใจของครูที่จะ
พัฒนาการเรียนรู้และนาอาชีพ
ทําให้ครูเห็นว่าไม่มีส่วนหนึ่งส่วนใดของรูปแบบนี้ทํางานอยู่
ในสภาพหยุดการเปลี่ยนแปลง
แต่เป็นการทํางานอยูในสภาวะแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงและ่ มักจะมีความไม่แน่นอนรวมอยูด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น